ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นคณะลำดับที่ 13 ของมหาวิทยาลัย สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2536 ดำเนินการเรียน-การสอนใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ต่อมา ปี พ.ศ. 2554 ได้รับมอบหมายให้จัดการเรียน-การสอน ในวิทยาเขตสุพรรณบุรีด้วย

จากโครงการจัดตั้งวิทยาเขตกำแพงแสนเพื่อย้ายนิสิตที่เรียนด้านเกษตรในคณะต่างๆมาเรียนในวิทยาเขตกำแพงแสน ต้องประสบปัญหาการต้องเดินทางระหว่างวิทยาเขตเพื่อเรียนวิชาพื้นฐานรายบางรายวิชาที่ไม่มีเปิดสอนในวิทยาเขตกำแพงแสน จึงทำให้นิสิตต้องใช้เวลาในการเดินทางไปเรียนยังวิทยาเขตบางเขน อีกทั้งยังเป็นข้ออ้างในการย้ายคณะเกษตรมาตั้ง ณ วิทยาเขตกำแพงแสนอีกด้วย การจัดตั้งหน่วยงานมาเปิดทำการสอนวิชาพื้นฐาน โดยเริ่มต้นจากอาจารย์ในคณะที่เปิดรายวิชาพื้นฐานที่มีความจำเป็นที่ต้องเปิดในวิทยาเขตกำแพงแสน โดยใช้ลักษณะให้อาจารย์เดินทางเช้าไป เย็นกลับและพักค้าง ณ วิทยาเขตกำแพงแสน แต่ก็ประสบปัญหาอื่นๆตามมา ต่อมาศาสตราจารย์ดร.สุจินต์ จินายน จึงได้วางแผนจัดตั้งคณะวิชา จำนวน 2 คณะ เพื่อเปิดการเรียนการสอนในวิทยาเขตกำแพงแสน ในด้านศาสตร์และศิลป์

คณะที่จะจัดตั้งได้แก่ คณะสารัตถศาสตร์ วิทยาลัยอุดมศึกษาและคณะศิลปศาสตร์ เพื่อเปิดสอนด้านพื้นฐาน ภาษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ให้แก่ นิสิตคณะต่างๆในวิทยาเขต ทั้งนี้ภายหลังได้มีมติที่ประชุมให้ใช้ชื่อโครงการจัดต้องคณะศิลปศาสตร์ สำหรับพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ ได้ทำโครงการจัดตั้ง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีขึ้น ทั้งนี้จึงทำแผนพัฒนาการศึกษาฯ เพื่อเสนอขออนุมัติบรรจุในแผนพัฒนาการศึกษา ฉบับที่ 7(พ.ศ. 2535-2539) เสนอการจัดตั้งต่อคณะรัฐมนตรี แต่ได้รับการพิจารณาเพียงโครงการเดียวคือ โครงการจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ แต่ด้วยความจำเป็นในการพัฒนาวิทยาเขตกำแพงแสน และบรรเทาปัญหาที่กล่าวมามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จึงได้พับโครงการจัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเข้าไปในแผนจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ด้วย เมื่อคณะกรรมการฯ จัดทำโครงการจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ เสร็จเรียบร้อย และนำเสนอมหาวิทยาลัยพิจารณา ที่ประชุมคณบดี คราวประชุม ครั้งที่ 20/2533 เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2533 มีมติให้ใช้ชื่อคณะศิลปศาสตร์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ( Faculty of Art Science and Technology ) และตัดฝ่ายกิจการนิสิตออกจากการแบ่งส่วนราชการ แล้วจึงนำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย ที่ประชุมภามหาวิทยาลัยคราวประชุม ครั้งที่ 1/2534 เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2534 ที่ประชุมพิจารณาแล้วมีมติให้แก้ไขชื่อเป็น โครงการจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ( Faculty of Liberal Art and Science )

ต่อมา 10 กันยายนพ.ศ. 2535 คณะกรรมการทบวงมหาวิทยาลัย คราวประชุม ครั้งที่ 7/2535 เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2535 พิจารณาเห็นชอบในหลักการให้ จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยมีการแบ่งส่วนราชการเป็นสำนักเลขานุการ โดยไม่มีการแบ่งส่วนราชการเป็นฝ่าย เนื่องจาก พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2511 จึงทำให้คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ไม่มีการแบ่งเป็นภาควิชา สำหรับชื่อคณะเห็นสมควรให้นำเสนอคณะอนุกรรมการพิจารณาบัญญัติศัพท์อุดมศึกษา พิจารณาความเหมาะสม และเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 ทบวงมหาวิทยาลัยแจ้งว่าคณะอนุกรรมการบัญญัติศัพท์อุดมศึกษาคราวประชุม ครั้งที่ 8/2535 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2535 มีมติให้ใช้ชื่อคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ตามที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เสนอ

คณะรัฐมนตรีได้ประชุมปรึกษาหารือเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 ลงมติเห็นชอบ การจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ตามที่ทบวงมหาวิทยาลัยเสนอ ดังนั้นคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์จึงจัดเป็นหน่วยงานระดับคณะ ในลำดับที่ 13 ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่องการแบ่งส่วนราชการในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ( ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2536 ลงวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2536 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 110 ตอนที่ 121 เมื่อ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2536

หมายเหตุ คำนำหน้านามของผู้ดำรงตำแหน่งคณบดี เป็นคำนำหน้านามตามตำแหน่งทางวิชาการในขณะนั้น

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหน่วยงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตามมติคณะรัฐมนตรี เป็นส่วนราชการในระดับคณะวิชา แบ่งหน่วยงานเป็น "สายวิชา" เพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการมีความชัดเจน คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ โดยมีฐานะเทียบเท่าภาควิชา(แต่ไม่เป็นส่วนราชการ) ปัจจุบัน มี 3 สายวิชา ได้แก่


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944